วันพุธที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2559

หน่วยการเรียนรู้ที่ 12 ท่องเที่ยวทั่วไทย


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ สถาบันหลักของชาติไทย
เป้าหมายการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ สถาบันหลักของชาติไทย




แผนการจัดการเรียนรู้ที่   ๑  ชื่อแผน ชาติไทย            เวลา  ............. ชั่วโมง
๑.  ชาติไทย

1                            ประกอบด้วยคำหลัก จำวนวน ๕  คำ และคำเสริม จำนวน  ๘  คำ

ที่
หัวเรื่อง
คำหลัก
จำนวน
คำเสริม
จำนวน
ชาติไทย
ชาติไทย ธงชาติ เพลงชาติ
แผนที่ ประเทศไทย

   ๕
ขวานทอง
สุวรรณภูมิ
สยามประเทศ
สามัคคี
ปรองดอง
สันติสุข
เอกราช 
   ๘

. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
๒.๑   ความรู้
๒.๑.๑           อ่านในใจ  อ่านออกเสียง และบอกความหมายได้ถูกต้อง
๒.๑.๒          ใช้พจนานุกรมได้อย่างถูกต้อง
๒.๑.๓          รู้จักเพลงเกี่ยวกับชาติไทย
๒.๒  ทักษะ/กระบวนการ
๒.๒.๑          พูดเล่าประสบการณ์ที่มีต่อชาติไทย
๒.๒.๒        อ่านและเขียนตามคำบอกได้ถูกต้อง
๒.๓   คุณธรรม จริยธรรม / ค่านิยม
๒.๓.๑          มีความตั้งใจใฝ่รู้ใฝ่เรียน
๒.๓.๒         เห็นคุณค่าของชาติไทย
๒.๓.๓         มีความรับผิดชอบในการทำงาน



๓. กิจกรรมการเรียนรู้
๓.๑ นำเข้าสู่บทเรียน( Introduction or Approach)  ครู แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และการทำกิจกรรมการเรียนรู้ และจัดกิจกรรรมให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ เช่นการร้องเพลงชาติ  การสนทนา การเล่าเรื่อง ดูวิดิทัศน์ ดูรูปภาพ  แนะนำหนังสือ หนังสือพิมพ์ วารสาร ฯลฯ
๓.๒ ขั้นสอน
๑. ความรู้
-                   คำศัพท์และความหมายของคำ
-                   การใช้พจนานุกรม
-                   เพลงเกี่ยวกับชาติไทย

๒. ทักษะ/กระบวนการ
-                   การอ่านออกเสียง / อ่านในใจคำศัพท์
-                   การเขียนตามคำบอก
-                   การเขียนคำอ่าน
-                   การเล่าประสบการณ์ที่มีต่อชาติไทย
-                   การแต่งประโยคจากคำศัพท์

                  
                  ๓.๓ ผู้เรียนแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่ม ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย (Working Period)
ภาระงาน/ชิ้นงาน
-                   ทำบัญชีคำศัพท์และความหมาย
-                   ใบงาน
-                   เขียนเรียงความ
-                   เขียนรายงาน


๓.๔ ขั้นนำเสนอผลงาน (Culmiating Activity) ผู้เรียน เสนอต่อหน้าชั้นเรียนโดยวิธีการต่าง ๆ เช่น ร้องเพลงชาติ จัดนิทรรศการ  จัดบอร์ด จัดมุมเสนอผลงาน

                ๓.๕ ขั้นวัดผลประเมินผล (Evaluation)
๑.ความรู้
   ๑.๑  อ่านในใจ  อ่านออกเสียง และบอกความหมายได้ถูกต้อ
   ๑.๒  ใช้พจนานุกรมได้อย่างถูกต้อง
   ๑.๓  รู้จักเพลงเกี่ยวกับชาติไทย
๒.ทักษะ/กระบวนการ
   ๒.๑  พูดเล่าประสบการณ์ที่มีต่อชาติไทย
  ๒.๒  อ่านและเขียนตามคำบอกได้ถูกต้อง
๓. คุณธรรม จริยธรรม / ค่านิยม
   ๓.๑  มีความตั้งใจใฝ่รู้ใฝ่เรียน
   ๓.๒ เห็นคุณค่าของชาติไทย
   ๓.๓  มีความรับผิดชอบในการทำงาน

๔.  หลักฐานการเรียนรู้/ภาระงาน
   ๔.๑   ทำบัญชีคำศัพท์และความหมาย
   ๔.๒  รายงานเรื่องชาติไทย
   ๔.๓  รวบรวมเพลงเกี่ยวกับชาติไทย

๕.  แหล่งเรียนรู้ / สื่อ
๕.๑  หนังสือเรียน
๕.๒  ใบความรู้เรื่องชาติไทย
๕.๓  ใบงาน

๖.การวัดและประเมินผล
วิธีวัด
เครื่องมือ
๑.  สังเกตพฤติกรรม
๒.  ตรวจผลงาน
๑.  แบบสังเกตพฤติกรรม
๒.  แบบประเมินผลงาน


๗.  บันทึกหลังการสอน
                ผลการสอน
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
                ปัญหา / อุปสรรค
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
                .....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

๗.  ความคิดเห็นของผู้บริหาร
                .....................................................................................................................................................
                .....................................................................................................................................................
               



ใบความรู้ หน่วยที่ ๑ สถาบันหลักของชาติ
                ชาติ  เป็นราชอาณาจักรอันเป็นหนึ่งเดียว  จะแบ่งแยกมิได้  มีความเป็นเอกราช  มีการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
                ศาสนา  เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวทางจิตใจให้คนในชาติประพฤติปฏิบัติในทางที่ดีงาม  ทุกศาสนาล้วนแต่สอนให้คนประพฤติและคอยประคับประคองจิตใจให้ดีงาม  มีความศรัทธาในการบำเพ็ญตนตามรอยพระศาสดาของแต่ละศาสนา
                พระมหากษัตริย์  เป็นศูนย์รวมใจของคนในชาติ  ทรงคุ้มเกล้าเหล่าพสกนิกรทั้งหลายให้อยู่ร่มเย็นเป็นสุข  เมื่อใดแผ่นดินเกิดวิกฤตก็ทรงปลอบขวัญและแก้ปัญหาให้สถานการณ์ลุล่วงไปได้  ทำให้ไทยอยู่ยั่งยืนนานตราบเท่าทุกวันนี้   
                สถาบันทั้ง ๓ นี้มีบุญคุณต่อเราอย่างมาก เพราะชาติ คือ แผ่นดินที่เราอยู่อาศัย ศาสนา คือ คำสอนขององค์พระศาสดาแต่ละพระองค์ที่สอนให้เราทุกคนเป็นคนดี และพระมหากษัตริย์ คือ ผู้ปกครองบ้านเมืองโดยธรรม เพื่อความสงบสุขของพสกนิกรชาวไทย เราทุกคนจึงควรรักชาติ รักศาสนา รักพระมหากษัตริย์ ด้วยใจอันบริสุทธิ์ ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
                 ประเทศไทยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศตลอดมา พระมหากษัตริย์ของไทยได้ทรงปกครองแผ่นดินด้วยทศพิธราชธรรม ได้ทรงบำบัดทุกข์บำรุงสุขของประชาชน ได้ทรงทำนุบำรุงบ้านเมืองให้มีความเจริญมั่นคงก้าวหน้าในด้านต่างๆ บางพระองค์ได้ทรงกอบกู้เอกราชของชาติด้วยความกล้าหาญและเสียสละ อาทิ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช บางพระองค์ได้ทรงดำเนินวิเทโศบายที่ชาญฉลาดทำให้ประเทศไทยสามารถรักษาเอกราชอธิปไตยไว้ได้จนทุกวันนี้ เช่นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช
          ชาติไทยของเรามีการวิวัฒนาการมาตั้งแต่เริ่มรวมชาติรวมแผ่นเดิน ก่อร่างสร้างเมืองตั้งแต่ อดีต จนมาเป็นประเทศชาติทุกวันนี้ก็เพราะสถาบันพระมหากษัตริย์  สถาบันพระมหากษัตริย์ยังเป็นสถาบันที่อยู่ในหัวใจของประชาชน เป็นสถาบันที่เคารพ สักการะเหนือเกล้าเหนือกระหม่อมของปวงชนชาวไทยทุกๆ คน ผู้ใดหรือใครจะมาล่วงเกินพระราชอำนาจไม่ได้

               ในสมัยสุโขทัยสถาบันพระมหากษัตริย์เปรียบเสมือนพ่อของประชาชนฐานะของพระองค์ เป็นพ่อขุน มีความใกล้ชิดประชาชน พอเข้าสมัยกรุงศรีอยุธยาฐานะของสถาบันพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นสมมุติเทพหรือเป็นเทวดาโดยสมมุติและทรงมีพระราชอำนาจในการปกครองทรง เป็นองค์อธิปัตย์สูงสุดในการปกครองบ้านเมือง ทรงปกครองบ้านเมืองด้วยหลักธรรมะโดยมีทศพิธราชธรรม และธรรมะหลักสำคัญต่างๆ ในการปกครองจนทำให้ไพร่ฟ้าประชาราษฏร์อยู่เย็นเป็นสุข ทรงครองราชย์ป้องเมือง ทำนุบำรุงบ้านเมือง ศาสนา และสังคมมาจนถึงทุกวันนี้ แม้ว่าประเทศไทยจะมีรูปการปกครองระบอบประชาธิปไตย พระราชอำนาจของสถาบันพระมหากษัตริย์ก็มิทรงเสื่อมถอย แต่สถาบันพระมหากษัตริย์กลับเป็นที่เคารพสักการะจากประชาชนมากเช่นเดิมไม่มีเปลี่ยนแปลง 



ใบความรู้ เรื่องที่ ๑ ชาติไทย
คำหลัก                  ชาติไทย ธงชาติ เพลงชาติ แผนที่ ประเทศไทย
คำเสริม                 ขวานทอง  สุวรรณภูมิ  สยามประเทศ  สามัคคี ปรองดอง  สันติสุข   เอกราช 
เนื้อหา                   

                      ชาติ หมายถึง แผ่นดินที่มีประชาชนยึดครอง มีอาณาเขตที่แน่นอน มีการปกครองเป็นสัดส่วน มีผู้นำ                 เป็นผู้ปกครองประเทศและประชาชนทั้งหมด ด้วยกฎหมายที่ประชาชนในชาตินั้นกำหนดขึ้น เช่น ประเทศไทย               มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข มีศาสนาพุทธ เป็นศาสนาประจำชาติ มีวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณี เป็นเอกลักษณ์ประจำชาติของตนเอง สืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษเป็นเวลายาวนาน ผู้ที่มีความรักชาติ จะช่วยกันปกป้องรักษาชาติ ไม่ให้ศัตรูมารุกรานหรือทำร้ายทำลาย เพื่อให้ลูกหลานได้อยู่อาศัยต่อไปให้อยู่ร่วมกันด้วยความสงบสุขสืบไป
                ธงชาติไทย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ธงไตรรงค์ มีลักษณะเป็น ธงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้สีหลักในธง ๓ สี คือ สีแดง ขาว และน้ำเงิน ภายในแบ่งเป็นแถบ ๕ แถบ แถบในสุดสีน้ำเงิน ถัดมาด้านนอกทั้งด้านบนและล่างเป็นสีขาวและสีแดงตามลำดับ แถบสีน้ำเงินมีขนาดใหญ่กว่าแถบสีอื่นเป็น  ๒ เท่า



ความหมายสำคัญของธงไตรรงค์นั้นหมายถึงสถาบันหลักทั้งสามของประเทศไทย คือ
                                สีแดง     หมายถึง                ชาติ       
                                สีขาว      หมายถึง                                ศาสนา  
                                สีน้ำเงิน หมายถึง                พระมหากษัตริย์                
สีทั้งสามนี้เองคือที่มาของการเรียกชื่อธงนี้ว่าธงไตรรงค์
                (ไตร หมายถึง สาม, รงค์ หมายถึง สี)

มีเพลงชาติไทยเป็นเพลงประจำชาติ คนไทยทุกรวมกันเป็นชาติไทย

เพลงชาติไทย



เรื่องที่ ๑ ชาติไทย

            ๑. ให้ผู้เรียนฝึก อ่าน - เขียน คำดังต่อไปนี้มาอย่างละ  ๕   คำ
            ชาติ......................................................................................................................................

                ชาติไทย...............................................................................................................................

                สามัคคี...............................................................................................................................
.
                ปรองดอง.............................................................................................................................

                สันติสุข................................................................................................................................

                ขวานทอง............................................................................................................................

                เพลงชาติ...............................................................................................................................

                ประเทศไทย.........................................................................................................................
.
                สุวรรณภูมิ............................................................................................................................ 
                สยามประเทศ.......................................................................................................................

๒. ให้ผู้เรียนฝึกอ่าน - เขียน คำดังต่อไปนี้
                ชาติไทย                 อ่านว่า...................................................................................................................

                สามัคคี                   อ่านว่า...................................................................................................................
.
                สันติสุข                 อ่านว่า...................................................................................................................

                ประเทศไทย         อ่านว่า..................................................................................................................
.
                สุวรรณภูมิ            อ่านว่า...................................................................................................................
               
                สยามประเทศ       อ่านว่า........................................................................................................

๒. ให้ผู้เรียนเขียนบอกความหมาย สีของ ธงชาติไทย
                                สีแดง     หมายถึง........................................................................................................
               
                                สีขาว      หมายถึง.......................................................................................................
.              
                                สีน้ำเงิน หมายถึง.......................................................................................................


ชื่อ-สกุล............................................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   ๒  ชื่อแผน ศาสนา            เวลา  ............. ชั่วโมง
๒. ศาสนา
      ประกอบด้วยคำหลัก จำวนวน ๕ คำ และคำเสริม จำนวน  ๑๑ คำ
ที่
หัวเรื่อง
คำหลัก
จำนวน
คำเสริม
จำนวน
ศาสนา
ศาสนา พุทธ คริสต์ อิสลาม
เจ้าอาวาส
   ๕
พระสังฆราช  มรรคทายก
ศาลาวัด  โบสถ์  เจดีย์
วิหาร  สังฆทาน พระพุทธรูป
พระภิกษุสงฆ์ สามเณร
 พระพุทธเจ้า
๑๑

. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
๒.๑ ความรู้
           ๒.๑.๑          อ่านในใจ  อ่านออกเสียง และบอกความหมายได้ถูกต้อง
                      ๒.๑.๒         ศาสนาประจำชาติไทย พุทธศาสนา
๒.๑.๓        เบญจศีล
๒.๒ ทักษะ/กระบวนการ
                            ๒.๒.๑   การเล่าประสบการณ์ประเพณีเกี่ยวกับศาสนา เช่น ตานก๋วยสลาก บวชพระ ฯลฯ
                ๒.๒.๒ อ่านและเขียนตามคำบอกได้ถูกต้อง
                 
๒.๓ คุณธรรม จริยธรรม / ค่านิยม
                ๒.๓.๑   มีศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ
                ๒.๓.๒   มีความรับผิดชอบในการทำงาน

๓. กิจกรรมการเรียนรู้
๓.๑ นำเข้าสู่บทเรียน( Introduction or Approach)  ครู แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และการทำกิจกรรมการเรียนรู้ และจัดกิจกรรรมให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ เช่น การสนทนา การเล่าเรื่อง การศึกษานอกสถานที่(เข้าวัดฟังธรรม,ร่วมกิจกรรมตามประเพณีทางศาสนา) ดูวิดิทัศน์ ดูรูปภาพ  แนะนำหนังสือ หนังสือพิมพ์ วารสาร ฯลฯ
                 ๓.๒ ขั้นสอน
๑. ความรู้
-       คำศัพท์และความหมายของคำ
-       ศาสนาประจำชาติไทย พุทธศาสนา
-       เบญจศีล


๒. ทักษะ/กระบวนการ
-       การเล่าประสบการณ์ประเพณีเกี่ยวกับศาสนา เช่น ตานก๋วยสลาก บวชพระ ฯลฯ
-       การอ่านคำ
-       การเขียนคำอ่าน
-       ท่องศีล ๕ ข้อ ได้ถูกต้อง

                
    ๓.๓ ผู้เรียนแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่ม ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย (Working Period)
ภาระงาน/ชิ้นงาน
-       ท่องศีล ๕ ข้อ และบอกความหมายได้ถูกต้อง
-       ใบงาน


๓.๔ ขั้นนำเสนอผลงาน (Culmiating Activity) ผู้เรียนเล่าประสบการณ์ประเพณีเกี่ยวกับศาสนา เช่น ตานก๋วยสลาก บวชพระ ฯลฯ  กล่าวคำอาราธนาศีล       

๓.๕ ขั้นวัดผลประเมินผล (Evaluation)
๑.ความรู้
   ๑.๑ อ่านในใจ  อ่านออกเสียง และบอกความหมายได้ถูกต้อง
   ๑.๒ มีความรู้เรื่องศาสนาพุทธ
   ๑.๓ รู้ความหมายคำอาราธนาศีล
๒.ทักษะ/กระบวนการ
   ๒.๑   พูดเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับประเพณีทางศาสนา
   ๒.๒  อ่านและเขียนตามคำบอกได้ถูกต้อง
   ๒.๓  ท่องคำอาราธนาศีล
๓.คุณธรรม จริยธรรม / ค่านิยม
   ๓.๑  มีความตั้งใจใฝ่รู้ใฝ่เรียน
   ๓.๒  เห็นคุณค่าของศาสนาที่ตนเองนับถือ
   ๓.๓  มีความรับผิดชอบในการทำงาน

๔.  หลักฐานการเรียนรู้/ภาระงาน
๔.๑   ท่องคำอาราธนาศีล
๔.๒ เขียนคำตามคำบอก

๕.  แหล่งเรียนรู้ / สื่อ
๕.๑ หนังสือเรียน
๕.๒ใบความรู้เกี่ยวกับศาสนา
๕.๓ ใบงาน
๕.๔ ศาสนสถาน
๕.๕ พระภิกษุสงฆ์

๖.การวัดและประเมินผล
วิธีวัด
เครื่องมือ
๑.  สังเกตพฤติกรรม
๒.  ตรวจผลงาน/ภาระงาน
๑.  แบบสังเกตพฤติกรรม
๒.  แบบประเมินผลงาน
๗.  บันทึกหลังการสอน
                ผลการสอน
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
                ปัญหา / อุปสรรค
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

๗.  ความคิดเห็นของผู้บริหาร
                .....................................................................................................................................................
                .....................................................................................................................................................






ใบความรู้ เรื่องที่ ๒ ศาสนา
คำหลัก                  ศาสนา  พุทธ คริสต์  อิสลาม  เจ้าอาวาส
คำเสริม                 พระสังฆราช  มรรคทายก  ศาลาวัด  โบสถ์  เจดีย์  วิหาร  สังฆทาน
เนื้อหา

                   ศาสนา หมายถึง คำสอนขององค์พระศาสดาแต่ละพระองค์  ศาสนาทุกศาสนามีไว้เพื่อสอนให้มนุษย์ละชั่ว ประพฤติดี ผู้ที่รักศาสนา จะเป็นผู้ที่นำคำสอนของแต่ละศาสนาไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวัน ละความชั่ว กระทำแต่ความดี และทำจิตใจให้สะอาดปราศจากเครื่องเศร้าหมอง คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ส่วนผู้ที่ไม่รักศาสนา จึงเป็นผู้ที่ไม่นำคำสอนของศาสนานั้นไปประพฤติปฏิบัติ ไม่ละความชั่ว ไม่ประพฤติดี ไม่ชำระจิตใจให้สะอาดปราศจากกิเลส ปล่อยให้ความโลภ ความโกรธ ความหลงครอบงำจิตใจ
                  ประเทศไทยไว้ 5 ศาสนา ดังนี้ ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ ศาสนาพราหมณ์ฮินดู และศาสนาซิกข์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเป็นองค์อุปภัมภ์ภก ของทุกศาสนา โดยมีศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติ โดยมี สมเด็จพระสังฆราชเป็นผู้นำสุดสูง
                มีเจ้าอาวาสประจำวัด ศาสนสถานของศาสนาพุทธ ได้แก่ วัด ศาลาวัด  โบสถ์  เจดีย์  เป็นต้น
ศาสนสถานของศาสนาคริสต์ ได้แก่ โบสถ์ ศาสนสถานของอิสลาม  ได้แก่ มัสยิด
                        ศีล หมายถึงอะไร ศีลพื้นฐานที่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสั่งสอนให้ชาวพุทธทุกคนยึดถือปฏิบัติเป็นหลักของชีวิต มีทั้งหมด ๕ ข้อ ประกอบด้วย

                ศีลข้อที่ ๑ ปาณาติปาตาเวรมณี  หมายถึง  การละเว้นจากการฆ่าชีวิตสัตว์ทุกชนิด
                ศีลข้อที่ ๒ อทินนาทานาเวรมณี  หมายถึง  การเว้นจากการลักทรัพย์ หรือทรัพย์ที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้
                ศีลข้อที่ ๓ กาเมสุมิสฉาจาราเวรมณี  หมายถึง  การละเว้นจากการประพฤติผิดในกาม การประพฤติผิดลูกผิดเมียคนอื่น (มีกิ๊ก มีชู้ก็ไม่ควร ยกเว้นแต่ จะมีการแต่งงาน และหรือมีการรับรู้รับเห็นด้วยจากผู้ปกครองของทั้งสองฝ่าย)
                ศีลข้อที่ ๔ มุสาวาทาเวรมณี  หมายถึง  การละเว้นจากการพูดปดงดเท็จ พูดจาโกหก พูดไม่อยู่กับร่องกับรอย
                ศีลข้อที่ ๕ สุราเมรยมัฌชปะมาทัตถานาเวรมณี  หมายถึง  การละเว้นจากการดื่มสุราเมรัยและเครื่องดองของมืนเมาทุกชนิด



ใบงานเรื่องที่ ๒ ศาสนา
๑.       ให้ผู้เรียนฝึกอ่านคำศัพท์ต่อไปนี้ซ้ำกันหลายๆ ครั้ง
                        ศาสนา                   พุทธ                       คริสต์                     อิสลาม  
                        สังฆทาน               พระสังฆราช       มรรคทายก            ศาลาวัด  
                        เจดีย์                       วิหาร                     สังฆทาน              เจ้าอาวาส

๒.     ให้ผู้เรียนโยงเส้นจับคู่ภาพให้ตรงกับความหมาย

พระพุทธรูป




สังฆทาน



เจดีย์



พระภิกษุสงฆ์





พระพุทธเจ้า





๑.       ให้ผู้เรียนท่องศีล ๕ ข้อ และบอกความหมาย
ข้อที่ ๑ ปาณาติปาตาเวรมณี  
                  หมายถึง.................................................................................
............................................................................................................................................
               
ข้อที่ ๒ อทินนาทานาเวรมณ
หมายถึง................................................................................. .............................................................................................................................................

ข้อที่ ๓ กาเมสุมิสฉาจาราเวรมณี  
หมายถึง...........................................................................  ..............................................................................................   ..............................................

ข้อที่ ๔ มุสาวาทาเวรมณี  
หมายถึง........................................................................................ .............................................................................................................................................
.              
ข้อที่  สุราเมรยมัฌชปะมาทัตถานาเวรมณี  
หมายถึง...........................................................  …………………………………………………………………………………………….. 




แผนการจัดการเรียนรู้ที่   ๓  ชื่อแผน พระมหากษัตริย์            เวลา  ............. ชั่วโมง

๓. พระมหากษัตริย์

      ประกอบด้วยคำหลัก จำวนวน ๑๐ คำ และคำเสริม จำนวน  ๗  คำ
ที่
หัวเรื่อง
คำหลัก
จำนวน
คำเสริม
จำนวน
พระมหากษัตริย์
พระเจ้าอยู่หัว
พระราชินี
พระบรมโอรสาธิราช
สมเด็จพระเทพ
พระราชบิดา
พระราชนัดดา
พระราชดำรัส
พระราชโอรส
พระราชธิดา
พระราชดำริ
   ๑๐
พระเจ้าแผ่นดิน
ในหลวง
แม่หลวง
พระมหากษัตริย์
พ่อหลวง
สมเด็จย่า
พระเจ้าอยู่หัว

. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
๒.๑ ความรู้
๒.๑.๑   อ่านในใจ  อ่านออกเสียง และบอกความหมายได้ถูกต้อง
๒.๒.๒ ใช้พจนานุกรมได้อย่างถูกต้อง
๒.๒.๓  รู้จักเพลงเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์
๒.๒.๔  ลำดับพระบรมวงศ์ศานุวงศ์

๒.๒ ทักษะ/กระบวนการ
๒.๒.๑  การอ่านออกเสียง / อ่านในใจคำศัพท์
๒.๒.๒ การเขียนตามคำบอก
๒.๒.๓ การเขียนคำอ่าน
๒.๒.๔ การเล่าความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์

๒.๓ คุณธรรม จริยธรรม / ค่านิยม
๒.๓.๑ มีความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
๒.๓.๒ ดำเนินวิถีชีวิตตามแนวพระราชดำรัส
๒.๓.๓ มีความรับผิดชอบในการทำงาน

๓. กิจกรรมการเรียนรู้
๓.๑ นำเข้าสู่บทเรียน( Introduction or Approach)  ครู แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และการทำกิจกรรมการเรียนรู้ และจัดกิจกรรรมให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ เช่น  การร้องเพลง อาทิเช่น เพลงสดุดีมหาราชา เพลงสรรเสริญพระบารมี เพลงภูมิแผ่นดิน และ การสนทนา การเล่าเรื่อง ดูวิดิทัศน์ ดูรูปภาพ  แนะนำหนังสือ หนังสือพิมพ์ วารสาร ฯลฯ

                 ๓.๒ ขั้นสอน
๑. ความรู้
-                   คำศัพท์และความหมายของคำ
-                   การใช้พจนานุกรม
-                   เพลงเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์
-                   ประวัติพระบรมวงศ์ศานุวงศ์

๒. ทักษะ/กระบวนการ
-                   การอ่านออกเสียง
-                   การเขียนตามคำบอก
-                   การเขียนคำอ่าน
-                   การเล่าเรื่องความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์

                  
๓.๓ ผู้เรียนแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่ม ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย (Working Period)

ภาระงาน/ชิ้นงาน
-                   ทำบัญชีคำศัพท์และความหมาย
-                   ใบงาน

๓.๔ ขั้นนำเสนอผลงาน (Culmiating Activity) ผู้เรียนเล่าเรื่องความจงรักภักดีต่อสถาบัน การจัดนิทรรศการ  จัดบอร์ด จัดมุมเสนอผลงาน

                  ๓.๕ ขั้นวัดผลประเมินผล (Evaluation)
๑.ความรู้
   ๑.๑  คำศัพท์และความหมายของคำ
   ๑.๒  ใช้พจนานุกรมได้อย่างถูกต้อง
   ๑.๓  รู้จักเพลงเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์
   ๑.๔  รู้ประวัติพระบรมวงศ์ศานุวงศ์
๒.ทักษะ/กระบวนการ
   ๒.๑  การอ่านออกเสียง
   ๒.๒  การเขียนตามคำบอก
   ๒.๓  การเขียนคำอ่าน
  ๒.๔  การเล่าเรื่องความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์
๓.คุณธรรม จริยธรรม / ค่านิยม
   ๓.๑   แสดงความจงรักภักดีสถาบันพระมหากษัตริย์
   ๓.๒ ดำเนินวิถีชีวิตตามแนวพระราชดำรัส
   ๓.๓  มีความรับผิดชอบในการทำงาน


๔.  หลักฐานการเรียนรู้/ภาระงาน
๔.๑   ทำบัญชีคำศัพท์และความหมาย
๔.๒ จับคู่ให้ตรงกับรูปภาพ

๕.  แหล่งเรียนรู้ / สื่อ
๕.๑ หนังสือเรียน
๕.๒ ใบความรู้เรื่องสถาบันพระมหากษัตริย์
๕.๓ ใบงาน
๕.๔ เพลงประกอบ
๕.๕ ภาพประกอบ
๕.๖ บัตรคำ
๕.๗ พจนานุกรม

๖.การวัดและประเมินผล
วิธีวัด
เครื่องมือ
๑.  สังเกตพฤติกรรม
๒.  ตรวจผลงาน
๑.  แบบสังเกตพฤติกรรม
๒.  แบบประเมินผลงาน

๗.  บันทึกหลังการสอน
                ผลการสอน
.....................................................................................................................................................
 .....................................................................................................................................................
                ปัญหา / อุปสรรค
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

                .....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
๗.  ความคิดเห็นของผู้บริหาร
                .....................................................................................................................................................
                ....................................................................................................................................................





ใบความรู้ เรื่องที่ ๓ พระมหากษัตริย์
คำหลัก                  พระเจ้าอยู่หัว พระราชินี   พระบรมโอรสาธิราช  สมเด็จพระเทพ  พระราชบิดา
                                พระราชนัดดา  พระราชดำรัส  พระราชโอรส  พระราชธิดา  พระราชดำริ         
คำเสริม                 พระเจ้าแผ่นดิน  ในหลวง   แม่หลวง   พระมหากษัตริย์  พ่อหลวง  สมเด็จย่า พระเจ้าอยู่หัว         
เนื้อหา  


พระมหากษัตริย์ หมายถึง พระเจ้าแผ่นดิน ผู้เป็นพระประมุขของประเทศ มีหน้าที่ปกครองประชาชนพลเมืองในประเทศนั้นให้อยู่ดีมีสุขตามกฎหมาย ตามครรลองคลองธรรมจารีตประเพณีวัฒนธรรมของชาตินั้นๆ เช่น ประเทศไทยมีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเป็นพระประมุข ทรงปกครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม ทรงให้แนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของปวงชนชาวไทย นำความเจริญรุ่งเรืองความผาสุกมาสู่พสกนิกรถ้วนหน้า มีความเป็นอยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุข มีความรู้รักสามัคคีกลมเกลียว  เราควรประพฤติตนเป็นคนดีถวายเป็นพระราชกุศล และถวายความจงรักภักดีแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ



พระบรมวงศานุวงศ์ หมายถึง พระประยูรญาติใหญ่น้อยทั้งหมดทุกราชสกุลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                ลำดับพระบรมวงศานุวงศ์ในรัชกาลปัจจุบัน
               
ลำดับที่              พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
                ลำดับที่              สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์  พระบรมราชินีนาถ
                ลำดับที่              พระราชโอรส
                                                สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช  เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ฯ  สยามมกุฎราชกุมาร
                ลำดับที่              พระราชธิดา
                                                สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา  เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธรฯ  สยามบรมราชกุมารี
                ลำดับที่              พระราชธิดา
                                               สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ  เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์  อัครราชกุมารี
                ลำดับที่              พระราชธิดา
                                                ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ราชกัญญา  สิริวัฒนาพรรณวดี
                ลำดับที่ 
            พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี  พระวรราชาทินัดดามาตุ
                ลำดับที่              พระราชนัดดา
                                                พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา 
                ลำดับที่               พระราชนัดดา
                                                พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าสิริวัณณวรีนารีรัตน์ 
ลำดับที่  ๑๐          พระราชนัดดา
                                                พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าทีปังกรรัศมีโชติ
                ลำดับที่  ๑๑          พระราชนัดดา
                                                พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าสิริภาจุฑาภรณ์
                ลำดับที่  ๑๒        
พระราชนัดดา
                                                พระเจ้าหลานเธอพระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ





ใบงานเรื่องที่ ๓ พระมหากษัตริย์
๑.ให้ผู้เรียนเล่าความรู้สึกของตนเองและเขียนบรรยายสั้นๆ ตามภาพ


รูปที่ ๑


.........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................



รูปที่ ๒



..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
๒.ให้ผู้เรียนจัดกลุ่มคำที่มีความหมายเดียวกันให้ถูกต้อง
                พระเจ้าอยู่หัว พระเจ้าแผ่นดิน  ในหลวง   แม่หลวง   พระมหากษัตริย์  พ่อหลวง 
พระเจ้าอยู่หัว  พระราชินี  แม่ของแผ่นดิน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ 

กลุ่มที่ ๑
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
กลุ่มที่ ๒
พระบรมราชินีนาถ

………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………
………………………………………………………


……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
……………………………………………………
…………………………………………………….
………………………………………………………