วันพุธที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2559

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๑ พลังงาน
เป้าหมายการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  ๑ พลังงาน และการเลือกใช้พลังงาน


หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่   ๑๑  ชื่อ พลังงาน            เวลา  .......๓...... ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  ๑ พลังงาน และการเลือกใช้พลังงาน
      ประกอบด้วยคำหลัก จำวนวน ๑๒  คำ และคำเสริม จำนวน  -  คำ

ที่
หัวเรื่อง
คำหลัก
จำนวน
คำเสริม
จำนวน
พลังงานและการเลือกใช้พลังงาน
น้ำมันเชื้อเพลิง  ฟืน  ถ่าน  แกลบ  พลังงาน  ถ่านหิน  เชื้อเพลิง  ก๊าซชีวภาพ  ไฟฟ้า  แสงอาทิตย์ 
 แก๊สหุงต้ม  แก๊สโซฮอล์

   ๑๒
     -

  

๒. มาตรฐานการเรียนรู้
            ๒.๑      มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการฟัง พูด  อ่าน เขียน คำที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
                       อย่างน้อย        ๑๒       คำ       
            ๒.๒    สามารถใช้เครื่องใช้พลังงานในครัวเรือนได้ถูกต้อง
            ๒.๓     สามารถคำนวณค่าใช้จ่ายพลังงานในชีวิตประจำวันเบื้องต้นได้
๓. ตัวชี้วัด
            ๓.๑ ฟัง พูด อ่าน เขียน            คำ ประโยค ได้อย่างเข้าใจ และสามารถเล่าประสบการณ์ของการใช้       
                    พลังงานของครัวเรือนได้
            ๓.๒ อ่าน เขียนตัวเลขไทย เลขอารบิกจำนวนและคำนวณการบวก ลบ คูณ หาร เบื้องต้นที่
                    ใช้ในชีวิตประจำวัน
            ๓.๓ เห็นคุณค่าและแสดงความรู้สึกตนเองเกี่ยวกับการใช้พลังงาน
            ๓.๔เรียงความและแสดงความรู้สึกเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน
. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
๔.๑ ความรู้
๔.๑.๑คำศัพท์และความหมายพลังงานและการเลือกใช้พลังงาน 

๔.๑.๒ความสำคัญของพลังงาน
                        ๔.๑.๓ประเภทของพลังงาน
                      ๔.๑.๔ประโยชน์
๔.๒ทักษะ/กระบวนการ
๔.๒.๑ การอ่านออกเสียง
๔.๒.๒ การเขียนตามคำบอก
๔.๒.๓ การเขียนคำอ่าน
๔.๒.๔ การเล่าประสบการณ์การใช้พลังงานในชีวิตประจำวัน
๔.๒.๕ การแต่งประโยคจากคำศัพท์

๔.๓ คุณธรรม จริยธรรม / ค่านิยม
๔.๓.๑ ปลูกจิตสำนึกในการประหยัดพลังงาน
                        ๔.๓.๒ เห็นคุณค่าของพลังงานที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
                        ๔.๓.๓ มีความรับผิดชอบต่อการใช้พลังงาน
๕. กิจกรรมการเรียนรู้

๕.๑ นำเข้าสูบทเรียน( Introduction or Approach)  ครู แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และการทำกิจกรรมการเรียนรู้ และจัดกิจกรรรมให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ เช่น การสนทนา การเล่าเรื่อง เกี่ยวกับการใช้พลังงาน ประเภท และการเลือกใช้พลังงานให้เหมาะสม
                 ๕.๒ ขั้นสอน
นและการเลือกใช้พลังงาน

๑. ความรู้
-       คำศัพท์และความหมาย
-       ความสำคัญ
-       ประเภท
-       ประโยชน์

๒. ทักษะ/กระบวนการ
-       การอ่านออกเสียง
-       การเขียนตามคำบอก
-       การเขียนคำอ่าน
-       การเล่าประสบการณ์การใช้พลังงานในชีวิตประจำวัน
-       การแต่งประโยคจากคำศัพท์



                     ๕.๓ ผู้เรียนแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่ม ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย (Working Period)
ภาระงาน/ชิ้นงาน
-       ทำบัญชีค่าใช้จ่ายในการใช้พลังงานในครัวเรือน
-       รวบรวมรายการที่ใช้พลังงานในชีวิตประจำวันของแต่ละครัวเรือน
-       เล่าประโยชน์ของพลังงาน

๕.๔ ขั้นนำเสนอผลงาน (Culmiating Activity) ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำความรู้ที่ได้ไปศึกษาค้นคว้ามา เสนอต่อหน้าชั้นเรียนโดยวิธีการต่าง ๆ เช่น รายงานปากเปล่า เอกสารรายงาน รายงานการจัดทำบัญชีครัวเรือน
                  ๕.๕ ขั้นวัดผลประเมินผล (Evaluation)
๑.ความรู้
๑.๑ อ่านออกเสียงคำศัพท์ และบอกความหมายได้ถูกต้อง
๑.๒ บอกและเขียนความสำคัญ ประเภท และประโยชน์ของพลังงานได้
๒.ทักษะ/กระบวนการ
๒.๑        อ่านออกเสียงคำศัพท์ได้ถูกต้อง
๒.๒       อ่านและเขียนตามคำบอกได้ถูกต้อง
๒.๓        เล่าประสบการณ์การใช้พลังงานในชีวิตประจำวันได้
๒.๓        นำคำมาเขียนแต่งประโยคได้
๓.คุณธรรม จริยธรรม / ค่านิยม
๓.๑         มีจิตสำนึกในการประหยัดพลังงาน
๓.๒        เห็นคุณค่าของพลังงานที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
๓.๓        มีความรับผิดชอบต่อการใช้พลังงาน
๖.  หลักฐานการเรียนรู้/ภาระงาน
๖.๑   ทำบัญชีคำศัพท์และความหมาย
๖.๒   รายงานเรื่อง การทำบัญชีครัวเรือน
๖.๓    รวบรวมรายการที่ใช้พลังงานในชีวิตประจำวันของแต่ละครัวเรือน
๖.๔     รวบรวมและรายงานการใช้ประโยชน์ของพลังงาน
๗.  แหล่งเรียนรู้ / สื่อ
๗.๑ หนังสือเรียน
๗.๒ใบความรู้เรื่องพลังงานและการเลือกใช้พลังงาน

๗.๓ ใบงาน
๘.การวัดและประเมินผล
วิธีวัด
เครื่องมือ
๑.  สังเกตพฤติกรรม
๒.  ตรวจผลงาน
๓. การประเมินคุณธรรม-จริยธรรม
๑.  แบบสังเกตพฤติกรรม
๒.  แบบประเมินผลงาน
๓. แบบประเมินคุณธรรม-จริยธรรม
๙.  บันทึกหลังการสอน
                ผลการสอน
..................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................
                ปัญหา / อุปสรรค
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

                .....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
o .  ความคิดเห็นของผู้บริหาร
                .....................................................................................................................................................
                .....................................................................................................................................................





หน่วยการจัดการเรียนรู้ที่   ๑๑  ชื่อ พลังงาน            เวลา  .......๓...... ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  ๒ การประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน
      ประกอบด้วยคำหลัก จำวนวน ๑๐  คำ และคำเสริม จำนวน  -  คำ
ที่
หัวเรื่อง
คำหลัก
จำนวน
คำเสริม
จำนวน
การประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน
หมุนเวียน  บำรุง  รักษา  ตรวจสอบ  ชำรุด  คุ้มค่า  ซ่อมแซม  ทดแทน  ใช้ซ้ำ  พัฒนา   
   ๑๒
     -

  
๒. มาตรฐานการเรียนรู้
            ๒.๑      มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการฟัง พูด  อ่าน เขียน คำที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
                       อย่างน้อย        ๑๐        คำ       
            ๒.๒    มีความสามารถในการซ่อมแซม บำรุง รักษา ของเครื่องใช้พลังงานในครัวเรือน
            ๒.๓     อ่าน เขียนตัวเลขไทย เลขอารบิก จำนวน และคำนวณการบวก ลบ คูณ หาร เบื้องต้น
                        ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
๓. ตัวชี้วัด
            ๓.๑ ฟัง พูด อ่าน เขียน            คำ ประโยค ได้อย่างเข้าใจ และสามารถเล่าประสบการณ์ของการ
                   ประหยัดและอนุรักษ์พลังงานของครัวเรือนได้
            ๓.๒ ใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวันได้ถูกต้อง
            ๓.๓ อ่าน เขียนตัวเลขไทย เลขอารบิก จำนวนและคำนวณการบวก ลบ คูณ หาร เบื้องต้นที่
                    ใช้ในชีวิตประจำวัน
            ๓.๔เรียงความและแสดงความรู้สึกเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน
. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
๔.๑ ความรู้
๔.๑.๑คำศัพท์และความหมายการประหยัดและอนุรักษ์พลังงานของครัวเรือน

๔.๑.๒ความสำคัญของการประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน
                        ๔.๑.๓ประเภทของการประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน
                      ๔.๑.๔ประโยชน์ของการประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน
๔.๒ทักษะ/กระบวนการ
๔.๒.๑ การอ่านออกเสียง
๔.๒.๒ การเขียนตามคำบอก
๔.๒.๓ การเขียนคำอ่าน
๔.๒.๔ การเล่าประสบการณ์การประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน
๔.๒.๕ การแต่งประโยคจากคำศัพท์

๔.๓ คุณธรรม จริยธรรม / ค่านิยม
๔.๓.๑ ปลูกจิตสำนึกในการประหยัดพลังงานและอนุรักษ์พลังงาน
                        ๔.๓.๒ เห็นคุณค่าของการประหยัดพลังงานและอนุรักษ์พลังงาน
                        ๔.๓.๓ มีความรับผิดชอบต่อการใช้พลังงาน
๕. กิจกรรมการเรียนรู้
 ๕.๑ นำเข้าสู่บทเรียน( Introduction or Approach)  ครู แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และการทำกิจกรรมการเรียนรู้ และจัดกิจกรรรมให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ เช่น การสนทนา การเล่าเรื่อง เกี่ยวกับการประหยัดและการอนุรักษ์พลังงานในชีวิตประจำวัน
                 ๕.๒ ขั้นสอน
๑. ความรู้
-       คำศัพท์และความหมาย
-       ความสำคัญ
-       ประเภท
-       ประโยชน์

๒. ทักษะ/กระบวนการ
-       การอ่านออกเสียง
-       การเขียนตามคำบอก
-       การเขียนคำอ่าน
-       การเล่าประสบการณ์กาปรหยัดและการอนุรักษ์พลังงานในชีวิตประจำวัน
-       การแต่งประโยคจากคำศัพท์



๕.๓ ผู้เรียนแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่ม ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย (Working Period)
ภาระงาน/ชิ้นงาน
-       เรียงความเรื่องการประหยัดและอนุรักษ์พลังงานในชีวิตประจำวันของแต่ละครัวเรือน
-       เล่าประโยชน์ของการประหยัดและอนุรักษ์พลังงานในชีวิตประจำวัน

๕.๔ ขั้นนำเสนอผลงาน (Culmiating Activity) ผู้เรียนแต่ละกลุ่มนำความรู้ที่ได้ไปศึกษาค้นคว้ามา เสนอต่อหน้าชั้นเรียนโดยวิธีการต่าง ๆ เช่น รายงานปากเปล่า เอกสารรายงาน รายงานการจัดทำบัญชีครัวเรือน
                  
๕.๕ ขั้นวัดผลประเมินผล (Evaluation)

๑.ความรู้
๑.๑ อ่านออกเสียงคำศัพท์ และบอกความหมายได้ถูกต้อง
๑.๒ บอกและเขียนความสำคัญ ประเภท และประโยชน์ของการประหยัดและอนุรักษ์พลังงานได้
๒.ทักษะ/กระบวนการ
๒.๑        อ่านออกเสียงคำศัพท์ได้ถูกต้อง
๒.๒       อ่านและเขียนตามคำบอกได้ถูกต้อง
๒.๓        เล่าประสบการณ์การประหยัดและการอนุรักษ์พลังงานในชีวิตประจำวันได้
๒.๓        นำคำมาเขียนแต่งประโยคได้
๓.คุณธรรม จริยธรรม / ค่านิยม
๓.๑         มีจิตสำนึกในการประหยัดและอนุรักษ์พลังงานได้
๓.๒        เห็นคุณค่าของการประหยัดและการอนุรักษ์พลังงานที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
๓.๓        มีความรับผิดชอบต่อการประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน
  
๖.  หลักฐานการเรียนรู้/ภาระงาน
๖.๑   เรียงความเรื่องการประหยัดและอนุรักษ์พลังงานในชีวิตประจำวันของแต่ละครัวเรือน
๖.๒เล่าประโยชน์ของการประหยัดและอนุรักษ์พลังงานในชีวิตประจำวัน
๗.  แหล่งเรียนรู้ / สื่อ
   ๗.๑ หนังสือเรียนการประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน
   ๗.๒ใบความรู้เรื่องการประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน
   ๗.๓ ใบงานการประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน

๘.การวัดและประเมินผล
วิธีวัด
เครื่องมือ
๑.  สังเกตพฤติกรรม
๒.  ตรวจผลงาน
๓. การประเมินคุณธรรม-จริยธรรม
๑.  แบบสังเกตพฤติกรรม
๒.  แบบประเมินผลงาน
๓. แบบประเมินคุณธรรม-จริยธรรม
๙.  บันทึกหลังการสอน
                ผลการสอน
..................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................
                ปัญหา / อุปสรรค
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

                .....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
o .  ความคิดเห็นของผู้บริหาร
                .....................................................................................................................................................
                .....................................................................................................................................................
              .....................................................................................................................................................





ใบความรู้ที่ ๑ เรื่อง พลังงานและการเลือกใช้พลังงาน
1.1 ความหมายของพลังงาน
พลังงาน หมายถึง สิ่งที่ทำให้สิ่งต่างๆเคลื่อนที่ได้ ถ้าไม่มีพลังงาน ก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น สิ่งใดก็ ตามที่เคลื่อนไหว เติบโต หรือทำงานในทางใดทางหนึ่ง ย่อมมีพลังงาน
1.2 ประเภทของแหล่งพลังงาน
พลังงานสามารถจำแนกประเภทตามลักษณะต่าง ๆ ดังนี้
1.2.1 จำแนกตามแหล่งที่ได้มา แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. แหล่งพลังงานปฐมภูมิ (Primary energy resources) หมายถึง แหล่งพลังงานต้น กำเนิด เป็นแหล่งพลังงานที่เกิดขึ้นหรือมีอยู่ตามธรรมชาติ สามารถนำมาใช้โดยตรง ได้แก่ น้ำ แสงแดด ลม เชื้อเพลิงตามธรรมชาติ เช่น น้ำมันดิบ ถ่านหิน แก๊สธรรมชาติ พลังงาน
2. แหล่งพลังงานทุติยภูมิ(Secondary energy resources) หมายถึง แหล่งพลังงาน แปรรูปซึ่งเป็นพลังงานที่ได้มาโดยการนำพลังงานต้นกำเนิดมาแปนรูป ให้อยู่ในรูปที่ใช้ประโยชน์ ในลักษระต่าง ๆ ได้ เช่น พลังงานไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปิโตรเลียมเหลว ถ่านไม้ เป็นต้น
1.2.2 จำแนกตามแหล่งที่นำมาใช้ประโยชน์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. แหล่งพลังงานหมุนเวียน (Renewable energy resources) หมายถึง แหล่ง พลังงานที่ได้จากธรรมชาติรอบ ที่นำใช้ได้ไม่มีวันหมด ซึ่งสามารถสร้างทดแทนได้ในช่วงเวลา สั้นๆ โดยธรรมชาติหลังจากมีการใช้ไป จึงมีหลายชื่อที่ใช้เรียก เช่น พลังงานทดแทน พลังงานใช้ ไม่หมด พลังงานสะอาดและพลังงานสีเขียว เนื่องจากไม่ทำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมนั่นเอง ได้แก่ พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังน้ำ เป็นต้น
2. แหล่งพลังงานสิ้นเปลือง (Non-renewable energy resources) หมายถึง แหล่ง พลังงานที่ไม่สามารถสร้างขึ้นมาใหม่หรือหามาทดแทนได้ทันความต้องการมีแต่จะน้อยลงไปหรือ หมดสิ้นไปได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ น้ำมันดิบ ถ่านหิน และพลังงานนิวเคลียร์


พลังงานหมุนเวียน
พลังงานแสงอาทิตย์      
พลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์ พลังงานนี้เป็นต้นกำเนิดของวัฏจักร ของสิ่งมีชีวิต ทำให้เกิดการหมุนเวียนของน้ำและธาตุต่างๆ เช่น คาร์บอน พลังงานแสงอาทิตย์จึง จัดเป็นหนึ่งในพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพสูง ปราศจากมลพิษ อีกทั้งเกิดใหม่ได้ไม่สิ้นสุด รังสีดวงอาทิตย์ที่ส่องมายังโลกก่อให้เกิดพลังงานความร้อนและแสงสว่าง สามารถ นำไปใช้โดยตรงในการให้ความร้อนและแสงสว่าง สามารถเปลี่ยนแสงอาทิตย์ให้เป็นไฟฟ้าได้โดย ผ่านเซลล์
แสงอาทิตย์ซึ่งสามารถติดตั้งที่ใดก็ได้ที่มีแสงแดดส่องถึง งานหรือบ้านพักออกสู่ภายนอก
ประโยชน์พลังงานลม
สถานภาพการนำพลังงานลมมาประยุกต์ใช้งาน ในประเทศไทย จัดแบ่งออกได้เป็น
3 ลักษณะ ได้แก่
1. กังหันลมเพื่อการสูบน้ำ การใช้กังหันลมเพื่อการสูบน้ำ ปัจจุบันได้มีการใช้งานใน ประเทศไทยอยู่ตามภูมิภาคต่าง ๆ
2. กังหันลมเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้า การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานลมในประเทศ ไทยยังมีไม่มากนัก เนื่องจากความเร็วลมมีค่าเฉลี่ยค่อนข้างต่ำ และต้นทุนการผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานลมยังมีราคาสูง เมื่อเทียบกับต้นทุนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานที่มาจากฟอสซิล
การใช้พลังงานลมเพื่อการระบายอากาศ ปัจจุบันได้มีการติดตั้งกังหันลมระบายอากาศบนหลังคาของโรงงาน และบ้านพัก อาศัย สำหรับการระบายอากาศร้อนภายในตัวอาคารโรงพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ เป็นรูปแบบหนึ่งการสร้างกำลังโดยการอาศัยพลังงานของน้ำที่เคลื่อนที่ ใน ปัจจุบัน พลังงานน้ำส่วนมากจะถูกใช้เพื่อใช้ในการผลิตไฟฟ้า นอกจากนี้แล้วพลังงานน้ำยังใช้ใน การ ชลประทาน พลังงานของมวลน้ำที่เคลื่อนที่ได้ถูกมนุษย์นำมาใช้มานานแล้วนับศตวรรษ
ในการนำพลังงานน้ำมาใช้ประโยชน์ อุปกรณ์ที่สำคัญ คือ เครื่องกังหันน้ำ (turbine) งานหรือบ้านพักออกสู่ภายนอก
ประโยชน์พลังงานน้ำ
1. พลังงานน้ำเป็นพลังงานหมุนเวียน ที่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ไม่หมดสิ้น เมื่อใช้ พลังงานของน้ำส่วนหนึ่งไปแล้ว น้ำส่วนนั้นก็จะไหลลงสู่ทะเลและน้ำในทะเล เมื่อได้รับพลังงาน
2. เครื่องกลพลังงานน้ำสามารถเริ่มดำเนินการผลิตพลังงานได้ในเวลาอันรวดเร็ว และ ควบคุมให้ผลิตกำลังงานออกมาได้ใกล้เคียงกับความต้องการ อีกทั้งยังมีประสิทธิภาพในการทำงาน สูงมาก ชิ้นส่วนของเครื่องกลพลังงานน้ำส่วนใหญ่จะมีความคงทน และมีอายุการใช้งานนานกว่า เครื่องจักรกลอย่างอื่น
3. เมื่อนำพลังงานน้ำไปใช้แล้ว น้ำยังคงมีคุณภาพเหมือนเดิมทำให้สามารถนำไปใช้ ประโยชน์อย่างอื่นได้อีก เช่น เพื่อการชลประทาน การรักษาระดับน้ำในแม่น้ำให้ไหลลึกพอแก่การ เดินเรือ เป็นต้น
4. การสร้างเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า กักเก็บน้ำและทดน้ำให้สูงขึ้น สามารถช่วยกักน้ำ เอาไว้ใช้ ในช่วงที่ไม่มีฝนตก ทำให้ได้แหล่งน้ำขนาดใหญ่ สามารถใช้เลี้ยงสัตว์น้ำหรือใช้เป็น สถานที่ท่องเที่ยวได้ และยังช่วยรักษาระบบนิเวศของแม่น้ำได้ โดยการปล่อยน้ำจากเขื่อนเพื่อไล่ น้ำ โสโครกในแม่น้ำที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม หรือยังสามารถใช้ไล่น้ำเค็มซึ่งหนุนขึ้นมาจากทะเล ได้ด้วย
พลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวล หมายถึง พลังงานที่ได้จากชีวมวลชนิดต่าง ๆ โดยกระบวนการแปรรูป
ชีวมวลไปเป็นพลังงานรูปแบบต่าง ๆ มวลชีวภาพ หรือ ชีวมวล (biomass) คือ สารอินทรีย์ที่เป็น แหล่งกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติและสามารถนำมาใช้ผลิตพลังงานได้ เช่น เศษวัสดุเหลือใช้ทาง การเกษตร หรือกากจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมการเกษตร ได้แก่
1.             แกลบ ได้จากการสีข้าวเปลือก
2.             ชานอ้อย ได้จากการผลิตน้ำตาลทราย
3.             กากปาล์ม ได้จากการสกัดน้ำมันปาล์มดิบออกจากผลปาล์มสด
4.             กากมันสำปะหลัง ได้จากการผลิตแป้งมันสำปะหลัง
5.             ซังข้าวโพด ได้จากการสีข้าวโพดเพื่อนำเมล็ดออก
6.             กาบและกะลามะพร้าว

ประโยชน์พลังงานชีว มวล
1. ผลิตไฟฟ้า เช่น โรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าจากแกลบ เป็นต้น
2. ผลิตเชื้อเพลิง โดยนำวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร เช่น ซังข้าวโพด กาบและกะลา
มะพร้าวนำมาเผาอัดเป็นแท่งถ่าน เป็นต้น


ใบงานที่ ๑
พลังงานและการเลือกใช้พลังงาน
๑.      ฝึกแจกลูกคำหลักต่อไปนี้

พลังงาน                พลัง         =  พอ – ลอ – อะ – งอ                      อ่านว่า     พลัง
                                งาน           =   งอ – อา – นอ                              อ่านว่า    งาน

แสงอาทิตย์           แสง            =  สอ – แอ – งอ                               อ่านว่า     แสง
                                อาทิตย์       =   ออ – อา – ทอ – อิ – ดอ               อ่านว่า   อาทิตย์

น้ำมันเชื้อเพลิง    น้ำ         =  ...................................................... อ่านว่า..................................
                                มัน         =  ...................................................... อ่านว่า..................................
                                เชื้อ         =  ...................................................... อ่านว่า..................................
                                เพลิง       =  ...................................................... อ่านว่า..................................

ฟืน                         ฟืน          =  ...................................................... อ่านว่า..................................

ถ่าน       ถ่าน         =  ...................................................... อ่านว่า..................................

แกลบ                   แกลบ       =  ...................................................... อ่านว่า..................................

ถ่านหิน               ถ่าน         =  ...................................................... อ่านว่า..................................
                                หิน          =  ...................................................... อ่านว่า..................................

เชื้อเพลิง               เชื้อ          =  ...................................................... อ่านว่า..................................
                                เพลิง        =  ...................................................... อ่านว่า..................................



ก๊าซชีวภาพ          ก๊าซ         =  ...................................................... อ่านว่า..................................
                                ชีวภาพ     =  ...................................................... อ่านว่า..................................

ไฟฟ้า                     ไฟ           =  ...................................................... อ่านว่า..................................
ฟ้า           =  ...................................................... อ่านว่า..................................
แก๊สหุงต้ม            แก๊ส         =  ...................................................... อ่านว่า..................................
หุง          =  ...................................................... อ่านว่า..................................
ต้ม          =  ...................................................... อ่านว่า..................................

แก๊สโซฮอล์           แก๊ส         =  ...................................................... อ่านว่า..................................
โซ          =  ...................................................... อ่านว่า..................................
ฮอล์        =  ...................................................... อ่านว่า..................................



๑.      ฝึกอ่านและเขียนคำต่อไปนี้

๑.      พลังงาน                          อ่านว่า        ................................................................
๒.    ถ่านหิน                    อ่านว่า        ................................................................
๓.     แสงอาทิตย์                อ่านว่า        ................................................................
๔.     แก๊สหุงต้ม                 อ่านว่า        ................................................................
๕.     เชื้อเพลิง                        อ่านว่า        ................................................................
๖.       แกลบ                            อ่านว่า        ................................................................
๗.     ฟืน                              อ่านว่า        ................................................................
๘.     ถ่าน                                  อ่านว่า        ................................................................
๙.      น้ำมันเชื้อเพลิง              อ่านว่า        ................................................................
๑๐.  ก๊าซชีวภาพ                อ่านว่า        ................................................................
๑๑.  ก๊าซโซฮอล์                     อ่านว่า        ................................................................
๑๒. ไฟฟ้า                      อ่านว่า        ................................................................


๑.      ท่านเห็นว่าการใช้พลังงานมีประโยชน์ต่อตัวท่านและครัวครัวตนเองอย่างไร............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๒.    การเลือกใช้พลังงานมีประโยชน์ต่อตัวท่านและครัวครัวตนเองอย่างไร.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

                                ใบงานที่  ๒
พลังงานและการเลือกใช้พลังงาน

คำชี้แจง ให้นักศึกษาเรียงความเรื่องพลังงานและการเลือกใช้พลังงาน

................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................




ใบงานที่  ๓
พลังงานและการเลือกใช้พลังงาน

คำชี้แจง ให้นักศึกษาบันทึกค่าใช้จ่ายการใช้พลังงานในครอบครัวของตนเองแต่ละเดือน

เดือน
รายการ
รวม
หมายเหตุ
ค่าไฟฟ้า
ค่าแก๊สหุงต้ม
ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง
มกราคม





กุมภาพันธ์





มีนาคม





เมษายน





พฤษภาคม





มิถุนายน





กรกฎาคม





สิงหาคม





กันยายน





ตุลาคม





พฤศจิกายน





ธันวาคม





รวมทั้งสิ้น










ใบความรู้ที่ ๒ เรื่อง การประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน

1. ปิดไฟที่ไม่ใช้ 1 ดวง/1คน ถ้าทำได้เพียง 0.1% ของการใช้พลังงานในประเทศ จะประหยัดเงินได้ 1,698 ล้านบาท อาจนำไปสร้างโรงเรียน 2 ชั้น 8 ห้องได้ 283 หลัง และถ้าทำได้ 10% จะประหยัด 169.799 ล้านบาท นำไปสร้างโรงเรียนขนาดเดียวกันได้ 28,300 หลัง
2. ปิดไฟสแตนด์บาย (จุดสีแดงตามโทรทัศน์ และเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ) ถ้าคนไทย 5 แสนครัวเรือน คิดเป็น 2.50% ของประเทศ ช่วยกันปิดไฟสแตนด์บายจะประหยัดได้ปีละ 2.4 ล้านบาท หาก 5 ล้านครัวเรือนหรือ 25% ของประเทศ จะประหยัดได้ถึง 23 ล้านบาท
3. ตู้เย็น ควรซื้อตู้เย็นที่ขนาดเหมาะสม เช่นขนาดกลาง กินไฟ 108 บาท/เดือน ค่าไฟจะสูงขึ้นตามจำนวนการเปิด-ปิด การตั้งอุณหภูมิสูงเกินค่ากำหนด จะเพิ่มค่าไฟ 27 บาท/เดือน
4. หม้อหุงข้าว ควรใช้ขนาดที่พอดีกับความต้องการ ขนาด 1.5 ลิตร 530 วัตต์ ใช้วันละ 1 ชม.กินไฟ 15.9 หน่วย คิดเป็น 47.7 บาท/เดือน หากเราใช้กัน 1 ล้านหม้อ จะเป็นค่าพลังงาน 47.7 ล้านบาท ดังนั้นจึงไม่ควรเสียบปลั๊กก่อนหุง และหุงเสร็จแล้วต้องถอดปลั๊กทันที หากซื้อแบบประหยัดไฟเบอร์ 5 จะลดค่าใช้จ่ายได้ถึง 10%
5. กระติกน้ำร้อน ควรต้มน้ำให้พอดี อย่าเสียบปลั๊กทิ้งไว้เมื่อไม่ใช้ซื้อขนาดที่เหมาะสม ใช้แบบประหยัดไฟเบอร์ 5 หากเราต้มน้ำ 1 ชม.ทุกวันจะเสียค่าไฟ 58.5/เดือน แต่หากต้มน้ำแค่ครึ่งกระติก จะประหยัดไป 46% ลดค่าพลังงานรวมทั้งประเทศได้ถึงเดือนละ 26.91%
6. เครื่องซักผ้า ควรใช้ให้เหมาะสมกับงาน เครื่องฝาบน สำหรับผ้าจำนวนน้อย เครื่องฝาหน้าสำหรับผ้าจำนวนมาก ผ้าห่ม เครื่องแบบมีอบแห้งเปลืองไฟกว่า หากเราซักผ้าวันละ 1 ชม.ทุกวัน จะเสียค่าไฟเดือนละ 27.90 บาท 9.3 หน่วย ควรซักเท่าที่จำเป็นเช่นสลับวันซัก หากลดได้เพียง 10% จะประหยัดได้ 2.8 ล้านบาท/ปี
7. พัดลม ควรเปิดเมื่อมีคนอยู่ ไม่ควรเปิดระดับแรงลมสูงสุด ไม่ใช้พัดลมที่มีรีโมท คอนโทรล เพราะหากเปิดพัดลม 5 ชม./วัน แรงลมสูงสุดจะเสียค่าไฟ 4.50 บาท/เดือน หากเปิด 1 ล้านเครื่องทั่วประเทศ กินพลังงานไป 4.50 ล้านบาท/เดือน ปีละ 54 ล้านบาท
8. เตารีด การใช้เตารีดไฟฟ้า ขนาด 1,000 วัตต์ วันละ 1 ชม.กินไฟ 90 บาท/เดือน ถ้า 1 ล้านเครื่องจะเสียไปมูลค่า 90 ล้านบาท/เดือนหรือ 1,080 ล้านบาท/ปี แต่ถ้าถอดปลั๊กก่อนรีดเสร็จ 3 นาที 1 ล้านเครื่องจะประหยัดได้ถึง 4.5 ล้านบาท/เดือน ควรรีดผ้าครั้งละมากๆ อย่ารีดผ้าเปียกชื้น เลือกให้ขนาดเหมาะสม และแบบประหยัดไฟเบอร์ 5
9. เครื่องปรับอากาศ อย่าเปิด-ปิดด้วยรีโมท อย่าเปิดแอร์ทิ้งไว้เลือกขนาดให้เหมาะสมกับพื้นที่ หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรอง จะประหยัดได้ถึง 5 - 7% หากเราหยุดใช้แอร์แค่วันละ 1 ชม.จะประหยัดเดือนละ126.90 บาท 1 ล้านเครื่องประหยัดได้ 126.9 ล้านบาท
10. โทรทัศน์ อย่าเปิดปิดด้วยรีโมท และควรถอดปลั๊กทุกครั้ง หากดูโทรทัศน์วันละ 4 ชม. จะเสียค่าไฟ 40.50 บาท/เดือน หากไม่เปิดปิดด้วยรีโมท และถอดปลั๊ก จะประหยัดได้ 4 บาท/เดือน 1 ล้านเครื่องก็ประหยัดได้ถึง 4 ล้านบาท/เดือน



ชื่อ.........................................................................นามสกุล.....................................................

ใบงานที่  ๑
การประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน
๑.      ฝึกแจกลูกคำหลักต่อไปนี้
หมุนเวียน            หมุน         =  หอ – มอ – อุ – นอ                        อ่านว่า     หมุน
                                เวียน          =   วอ – เอีย – นอ                              อ่านว่า    เวียน

คุ้มค่า                     คุ้ม            =  คอ – อุ – มอ –                                อ่านว่า     คุ้ม
                                ค่า             =   คอ – อา – ทอ – ไม้เอก                  อ่านว่า     ค่า

ทดแทน                 ทด         =  ...................................................... อ่านว่า..................................
                                แทน       =  ...................................................... อ่านว่า..................................
                               
บำรุง                      บำ          =  ...................................................... อ่านว่า..................................
รุง          =  ...................................................... อ่านว่า..................................

รักษา                      รัก           =  ...................................................... อ่านว่า..................................
ษา           =  ...................................................... อ่านว่า..................................

ตรวจสอบ             ตรวจ        =  ...................................................... อ่านว่า..................................
สอบ         =  ...................................................... อ่านว่า..................................


ชำรุด                    ชำ          =  ...................................................... อ่านว่า..................................
                                รุด          =  ...................................................... อ่านว่า..................................

ซ่อมแซม              ซ่อม         =  ...................................................... อ่านว่า..................................

แซม         =  ...................................................... อ่านว่า..................................

ใช้ซ้ำ                      ใช้            =  ...................................................... อ่านว่า..................................
                                ซ้ำ              =  ...................................................... อ่านว่า..................................

พัฒนา                   พัฒนา       =  ...................................................... อ่านว่า..................................

๑.      ให้ฝึกอ่านและเขียนคำต่อไปนี้
๑.      หมุนเวียน                          อ่านว่า        ................................................................
๒.    บำรุง                       อ่านว่า        ................................................................
๓.     รักษา                             อ่านว่า        ................................................................
๔.     ตรวจสอบ                        อ่านว่า        ................................................................
๕.     ชำรุด                            อ่านว่า        ................................................................
๖.       คุ้มค่า                            อ่านว่า        ................................................................
๗.     ซ่อมแซม                        อ่านว่า        ................................................................
๘.     ทดแทน                            อ่านว่า        ................................................................
๙.      ใช้ซ้ำ                                 อ่านว่า        ................................................................
๑๐.  พัฒนา                            อ่านว่า        ................................................................

๒.    จงอธิบายว่าการประหยัดและอนุรักษ์พลังงานมีประโยชน์ต่อท่านและครอบครัวอย่างไร
............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
๓.     ฝึกคิดคำนวณเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายการประหยัดและอนุรักษ์พลังงาน
ก่อนการประหยัดใช้พลังงาน        มีค่าใช้จ่าย             จำนวน......................................................บาท
หลังการประหยัดใช้พลังงาน        มีค่าใช้จ่าย             จำนวน......................................................บาท
















































  





ชื่อ.........................................................................นามสกุล.....................................................

ใบงานที่ ๑
พลังงานและการเลือกใช้พลังงาน
๑.      ฝึกแจกลูกคำหลักต่อไปนี้

พลังงาน                พลัง         =  พอ – ลอ – อะ – งอ                      อ่านว่า     พลัง
                                งาน           =   งอ – อา – นอ                              อ่านว่า    งาน

แสงอาทิตย์           แสง            =  สอ – แอ – งอ                               อ่านว่า     แสง
                                อาทิตย์       =   ออ – อา – ทอ – อิ – ดอ               อ่านว่า   อาทิตย์

น้ำมันเชื้อเพลิง    น้ำ         =  ...................................................... อ่านว่า..................................
                                มัน         =  ...................................................... อ่านว่า..................................
                                เชื้อ         =  ...................................................... อ่านว่า..................................
                                เพลิง       =  ...................................................... อ่านว่า..................................

ฟืน                         ฟืน          =  ...................................................... อ่านว่า..................................

ถ่าน       ถ่าน         =  ...................................................... อ่านว่า..................................

แกลบ                   แกลบ       =  ...................................................... อ่านว่า..................................

ถ่านหิน               ถ่าน         =  ...................................................... อ่านว่า..................................
                                หิน          =  ...................................................... อ่านว่า..................................

เชื้อเพลิง               เชื้อ          =  ...................................................... อ่านว่า..................................
                                เพลิง        =  ...................................................... อ่านว่า..................................




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น